10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

6 เทคนิคที่ช่วยคุณลดค่าไฟในระบบอัดอากาศในโรงงานคุณ

เราเข้าใจว่าช่วงนี้ทุกๆ โรงงานต่างประสบปัญหาคล้ายกันเนื่องจากเหตุการณ์โควิดที่ส่งผลกระทบกับไลน์การผลิตในโรงงาน อ่านบทความนี้เพื่อช่วยให้คุณสามารถลดค่าไฟในระบบอัดอากาศอย่างมีประสิทธิภาพที่ยั่งยืน อย่างที่คุณรู้ระบบอัดอากาศเป็นส่วนที่ใช้ค่าไฟสูงมากในโรงงาน บางโรงงานระบบอัดอากาศอาจกินไฟ 12% แต่บางโรงงานอาจสูงถึง 40% จากทั้งโรงงาน

“ไม่ต้องห่วง Atlas Copco คอยให้คำปรึกษาและแนะนำวิธีลดค่าไฟในระบบอัดอากาศอย่างมีประสิทธิภาพเคียงข้างคุณตลอดการเดินทาง” มาอ่านเทคนิคที่เรานำมาฝากกกันต่อค่ะ

1. การลดช่วงเวลาของ Unload

ปัญหาสำคัญของระบบอัดอากาศคือความต้องการแรงดันที่ไม่คงที่ ซึ่งจุดนั้นเองที่ทำให้คุณเสียเงินไปอย่างมากมายโดยไม่รู้ตัว เรามีข้อแนะนำ 2 อย่างเกี่ยวกับการวางระบบอัดอากาศในโรงงาน

ระบบควบคุมอัตโนมัติ

หากโรงงานของคุณมีระบบควบคุมอัตโนมัติที่ใช้จัดการเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหลายๆ ตัว ปัจจุบันตัวควบคุมนั้นมีการปรับการทำงานให้ใช้งานง่ายสำหรับผู้ใช้ นั่นทำให้คุณสามารถตั้งโปรแกรมระบบเป็นแบบอัตโนมัติเพื่อให้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบบไม่มีระบบควบคุม

คุณควรตั้ง Pressure Brand เป็นแบบเทียมเดี่ยว หมายความว่าระบบเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมจะทำการหยุดอัตโนมัติหากแรงดันถึงจุดที่ตั้งไว้ ด้วยระบบ Elektronikon ของ Atlas Copco ทำให้ระบบคอนโทรลเลอร์มีฟั่งชั่นสำหรับการตั้งระบบเปิด/ปิด คุณสามารถสอบถามจากทางทีมวิศกรฝ่ายขายของเราในเรื่องนี้ได้เลย

คุณรู้ไหมว่าหลังจากที่คุณปิดเครื่องอัดอากาศแล้วนั่นไม่ได้หมายความว่าระบบการทำงานของเครื่องจะปิดทันที หากว่าคุณมีรอยรั่วในระบบอยู่นั่นทำให้คุณสูญเสียพลังถึง 25% จากช่วงเวลาของการโหลด นั่นหมายความว่าระบบอัดอากาศสามารถกลับมาทำงานได้อีกครั้ง

2. การจัดการรอยรั่วหรือการรั่วไหลที่เกิดขึ้นตามจุดต่างๆ ในระบบอัดอากาศ

คุณมีความกังวลใจเกี่ยวกับเรื่องการรั่วไหลหรือรอยรั่วในระบบอัดอากาศที่เกิดขึ้นกับระบบอัดอากาศของคุณเพราะนั่นหมายถึงทำให้คุณสูญเสียเงินค่าไฟจำนวนมาก อ่านบทความนี้เพื่อเข้าใจว่าขนาดของรอยรั่วจะทำให้คุณเสียเงินไปเท่าไหร่ เรามีตัวอย่างง่ายๆ มาให้คุณดูเพื่อวิเคราะห์ระบบอัดอากาศของคุณเองหากยังไม่แน่ใจคุณสามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลยค่ะ (เรามีโปรแกรมตรวจเช็คค่าพลังงานในระบบอัดอากาศให้คุณฟรีแบบไม่คิดตังค์และรายงานผลอย่างละเอียดเลยด้วยค่ะ คลิก!) มาต่อกันเรื่องวิเคราะห์ค่าไฟดังนี้ ถ้าหากคุณมีรอยรั่วขนาด 3 mm สามารถประมาณค่าไฟโดยเฉลี่ย 2028.57 บาทต่ออาทิตย์ ซึ่งหาเราดูตามค่าประมาณการที่เกิดขึ้นทำให้คุณเสียพลังงานโดยไม่จำเป็นอยู่ที่ 20% ของการใช้พลังงานทั้งหมดจากรอยรั่วที่เกิดขึ้น มาตรวจสอบรอยรั่วในระบบเครื่องอัดอากาศกันค่ะ ว่าในระหว่างที่เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมของคุณมีการใช้งานอย่างเต็มที่นั้นมีรอยรั่วเกิดขึ้นในระบบหรือไม่ ถ้าใช่เรามาเริ่มการแก้ไขและซ่อมแซมกันที่ถูกจุดดีกว่าค่ะ
Orifice dia. (mm) Air Leakage (cfm) at 7 bar(g) Power Wasted (kW) The annual cost of air leakage* Weekly Cost of Air Leakage*
1.6 6.5 1.08 26,369.67 THB 506.82 THB
3.2 26 4.33 105,478.26 THB 2,028.57 THB
6.4 104 17.33 421,912.62 THB 8,113.85 THB

3. การลดระดับของ Pressure band

การลดระดับของ Pressure band 1 bar (14.5 psi) สามารถช่วยให้คุณลดการใช้พลังงานได้ถึง 7% เมื่อคุณต้องการตั้งระบบของเครื่องอัดอากาศเราควรเริ่มที่การเซ็ตค่า Pressure band คุณควรที่จะปรับการตั้งค่า Pressure band ให้อยู่ในระดับต่ำที่สุดที่จะไม่มีผลกระทบต่อการใช้งานลมอัด

สำหรับโรงงานที่มีการใช้เครื่องอัดอากาศหลายๆ ตัว เราแนะนำว่าคุณควรจัดระบบอัดอากาศแบบเซ็นเตอร์ (Centralized System) โดยมีการใช้ระบบเซ็นเตอร์ คอนโทรล (Central Controller) โดยระบบจะถูกตั้งให้มีการใช้ Pressure band ที่แคบที่สุดเพื่อความมั่นใจว่าแรงดันลมที่คุณจะได้รับนั้นเหมาะกับการใช้งานของคุณที่สุด ที่ Atlas Copco เรามีระบบที่จะช่วยให้คุณสามารถเซ็ตตัวควบคุมแบบปกติ (manual) หรือระบบอัตโนมัติ (automatic) ที่ทำให้คุณสามารถเซ็ตระบบ pressure band ได้ 2 แบบ ทำให้คุณมั่นใจได้ว่าคุณจะใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โดยกระบวนการนี้จะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าการลดระดับแรงดันนั้นจะไม่ส่งผลกระทบต่อการรั่วไหลในระบบอัดอากาศของคุณ *การลดแรงดัน 1 bar จะทำให้คุณสามารถลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากรอยรั่วในระบบอัดาอากาศได้ถึง 13%*

4. นำค่าพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบอัดอากาศกลับมาใช้ใหม่

อีกวิธีที่เราสามารถนำพลังานกลับมาใช้ใหม่โดยไม่สูญเสียพลังงานที่มีอยู่ นั่นคือเทคโนโลยีใหม่ของ Atlas Copco โดยการนำพลังงานความร้อนที่ปล่อยออกจากระบบ Cooling กลับมาใช้ใหม่ ด้วยเทคโนโลยี “ER” หรือ “Energy Recovery” ทำให้คุณสามารถนำพลังงานความร้อนที่เสียไปกลับมาใช้ใหม่ โดยจำนวนของพลังงานที่สามารถนำกลับมาใช้ได้นั้นขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมและระยะเวลาที่มีการใช้งานเครื่อง โดยปกติเราสามารถนำพลังงานที่เสียไปนั้นกลับมาใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่ 70-94% ตัวอย่างการนำพลังงานความร้อนกลับมาใช้ใหม่นั้นจะช่วยลดค่าพลังงานไฟฟ้าจากการผลิตน้ำร้อน (ทำน้ำให้ร้อน), ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ, และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ คุณสามารถอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับเทคโนโลยี ER – Energy Recovery in Compressor System ได้ที่นี่ 

*70% คือค่าพลังงานโดยประมาณที่เราสามารถนำพลังงานความร้อนจากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแล้วสกรูที่ใช้น้ำมันหล่อลื่นกลับมาใช้ใหม่ และ 94% คือค่าสูงสุดที่เราสามารถนำพลังงานความร้อนที่เสียไปกลับมาใช้ได้จริง*

5. มั่นใจว่าชนิดของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมที่ใช้อยู่นั้นเหมาะกับการใช้งานของคุณ

คุณรู้ใช่ไหมว่าชนิดของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมนั้นส่งผลอย่างมากต่อความต้องการใช้แรงดันลมอัดในระบบอัดอากาศ ซึ่งสิ่งสำคัญที่จะแสดงให้เห็นคือเรื่องของค่าพลังงานที่เราสามารถประหยัดได้จริงถ้าหากคุณรู้ว่าการใช้งานแรงดันลมนั้นมีค่าผันผวนและคุณยังคงใช้เครื่องอัดาอากาศหรือปั๊มลมแบบ Fixed Speed คุณควรเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีแบบ VSD หรือ Variable Speed Drive แทนเพื่อช่วยลดช่วงเวลาของ Unload ที่เกิดขึ้น *อย่างที่รู้กัน Unload คือการสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์*

*เครื่องอัดอากาศแบบ VSD หรือ Variable Speed Drive สามารถช่วยให้คุณลดการใช้พลังงานลงถึง 35% และเครื่องอัดอากาศรุ่น VSD+ สามารถลดการใช้พลังงานถึง 50% จากการใช้งานเครื่องอัดาอากาศหรือปั๊มลมแบบ Fixed Speed

มาดูการเปรียบเทียบการใช้งานเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบ VSD และ Fixed Speed เลย

6. อย่าลืมเรื่องค่าใช้จ่ายในการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องอัดอากาศ

เวลาคุณคำนวนค่าใช้จ่ายในเกี่ยวกับระบบอัดอากาศนั้น คุณได้มีการคำนวนค่าใช้จ่ายด้านงานซ่อมบำรุงในแต่ละครั้งหรือการจัดซื้ออะไหล่ปั๊มลมหรือยัง เรามีปัจจัยง่ายๆ ให้คุณคิดถึงก่อนที่คุณจะซื้อเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเครื่องใหม่หรือการซ่อมเครื่อง

ปัจจัยสำคัญก่อนการตัดสินใจของคุณ

  1. การสั่งซื้ออะไหล่สำหรับเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (อะไหล่แท้หรืออะไหล่เทียบก็ได้ จริงหรือ? – อ่านบทความนี้ก่อนตัดสินใจค่ะ) เพื่อทำการซ่อมบำรุงในโรงงานของคุณเอง สำหรับการสั่งอะไหล่ (แผนงานอะไหล่สำหรับคุณ) คุณสามารถเลือกแผนการซ่อมบำรุงที่จากโรงงานหรือตัวแทนจำหน่ายของเราได้เลย
  2. ประหยัดเงิน-ประหยัดเวลา ถ้าหาคุณต้องการได้รับการดูแลได้อย่างครอบคลุมไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเราแนะนำแผนงานซ่อมบำรุงแบบ  “Total responsibility package” โดยแผนนี้จะครอบคลุมถึงการ Breakdowns ของเครื่องรวมไปถึงเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมทำงานไม่คงที่เนื่องจากใช้งานมานาน ด้วยประสบการณ์ทำงานที่ยาวนานทำให้คุณมั่นใจได้ว่าการตรวจเช็คเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเป็นประจำจะทำให้มีประสิทธิภาพการทำงานที่ยาวนานขึ้น

Atlas Copco – กลุ่มหน่วยธุรกิจเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

เราให้คำปรึกษาและจัดจำหน่ายอุปกรณ์ต่างๆ ในส่วนของระบบอัดอากาศและระบบก๊าซ โดยเรามีวิศวกรเฉพาะด้านนี้คอยให้คำปรึกษาคุณเรื่องการวางแผนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่ยังยืน ติดต่อเราเพื่อขอคำปรึกษาหรือตรวจเช็คค่าพลังงานได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

Wiki สำหรับระบบอากาศอัด งานซ่อมบำรุงและการบริการหลังการขาย Technologies

                                                            

อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่นี่