กระบวนการสำคัญที่ทำให้รถไฟสามารถขับเคลื่อนได้ คือ?
ทุกวันนี้ระบบคมนาคมขนส่งจึงถือว่ามีความสำคัญต่อประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม สำหรับในประเทศไทยเอง ยังคงเป็นเป้าหมายการลงทุนที่น่าสนใจ ในการปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานที่ดี ถ้าประเทศไทยมีระบบการคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย มีความน่าเชื่อถือและมีต้นทุนที่ประหยัด จะมีส่วนสำคัญในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจของประเทศให้สูงขึ้น เนื่องจากระบบคมนามคมสามารถเคลื่อนย้ายผู้คนและสินค้าไปทั่วโลก
ในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา เทคโนโลยีได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องวงการอุตสาหกรรมต่างๆ ก็มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมการขนส่ง โดยในปี คศ.1814 เครื่องจักรไอน้ำ (steam engine)ได้ถือกำเนิดเป็นครั้งแรก ต่อมาในช่วงปลายทศวรรษ 1800 ก็ได้การผลิตรถยนต์ (automobile) และเครื่องบิน (airplane) ในปีคศ.1903 ด้วยยุคสมัยที่เปลี่ยนไป วิธีการขนส่งที่เก่ากว่า ช้ากว่าและน่าเชื่อถือน้อยกว่าจึงล้าสมัยไปอย่างรวดเร็ว อุตสาหกรรมรถไฟจึงต้องมีการปรับปรุงและออกแบบเครื่องยนต์และตัวถังให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย โดยการเพิ่มความเร็วในการทำงานให้สูงกว่าเดิม หากอุตสาหกรรมรถไฟได้รับการปฏิวัติ รถไฟก็จะเป็นอีกหนึ่งคมนาคมขนส่งที่ได้ความนิยม ไม่ว่าจะเป็น บุคคลทั่วไปหรืออุตสาหกรรม ล้วนต้องพึ่งพาการเดินทาง การขนส่งที่สะดวกสบายและเชื่อถือได้ ถ้าคุณดูอย่างประเทศญี่ปุ่น ที่มีการใช้รถไฟฟ้าในตัวเมืองนั้นเพิ่มความสะดวกสบายให้กับประชาชนมากขึ้น หรือแม้แต่การข้ามเมืองไปยังเมืองอื่นๆ ก็ทำได้รวดเร็ว
แล้วคุณทราบไหมคะว่าเครื่องจักรที่ช่วยขับเคลื่อนให้รถไฟทำงานได้ราบรื่นและมีประสิทธิภาพคืออะไร? เดาถูกไหมคะ ถ้าไม่เรามาดูกันค่ะ เครื่องจักรที่ช่วยขับเคลื่อนรถไฟก็คือเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ (air compressor) นั่นเองค่ะ
รถไฟใช้อากาศอัดในการขับเคลื่อนด้วยหรือ?
อาร์คิมิดีส (Archimedes) นักคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ชาวกรีก ได้คิดค้นกฎแห่งเกลียวขึ้นมาในสมัยกรีกโบราณ จนเป็นที่มาของ กฎเกลียวแห่งอาร์คิมิดีส (Archimedes’ screw principle) จนเป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก ด้วยรูปแบบการทำงานที่ใช้งานง่าย ทำให้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบสกรูโรตารีเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่ในอุตสาหกรรมต่างๆ เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมสกรูรุ่น GAR (GAR series) ของแอตลาส คอปโก้ เราใช้ส่วนประกอบสกรูโรตารี่ที่ออกแบบโดยวิศวกรของเราเอง จึงสามารถทำลมได้ถึง 180 CFM เราออกแบบมาเพื่อความต้องการเฉพาะของอุตสาหกรรมการรถไฟ สามารถทำงานได้แม้สภาพอากาศแปรปรวน ที่สำคัญคือง่ายต่อการบำรุงรักษา คุณจึงมั่นใจได้ว่าเทคโนโลยีสกรูโรตารี่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีลูกสูบ
จากนวัตกรรมที่ผ่านการศึกษาวิจัยนับครั้งไม่ถ้วนของวิศวกรของเรา โลกของเราจึงก้าวไปอย่างรวดเร็วกว่าที่เคยเป็นเมื่อสองศตวรรษก่อน หากโลกของเราไม่มีอากาศอัด นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ก็อาจจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ Atlas Copco เราพร้อมสนับสนุนทุกความเป็นไปได้ เรามีปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ (air compressor) ที่ตอบสนองสำหรับการใช้งานด้านการขนส่งทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมรุ่น GA VSD+ หรือ GAR
หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ (air compressor) หรือมีคำถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ (air compressor) สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมรถไฟ สามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญของแอตลาส คอปโก้ได้โดยตรงหรือ